ศาลแรงงาน…ที่พึ่งของมนุษย์ทำงาน และกรณีใดบ้างที่ควรพึ่งศาล

หากจะบอกว่าศาลแรงงานเป็นที่พึ่งของมนุษย์ทำงานหรือบรรดาลูกจ้างทั้งหลายก็คงไม่ผิดนัก เพราะหากวันใดวันหนึ่งที่เกิดข้อพิพาทระหว่างลูกจ้าง-นายจ้าง และเป็นเรื่องที่ไม่สามารถตกลงกันได้ คนกลางที่จะเป็นผู้ไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาทนั้นก็คือ ศาลแรงงาน ศาลแรงงาน...

นายจ้างต้องรู้ ! กำหนดวันหยุดยังไง ที่ไม่ขัดกับกฎหมาย

ถ้าไม่อยากทำผิดกฎหมายแรงงาน สิ่งที่นายจ้างต้องรู้และทำตาม นั่นก็คือ การกำหนดวันหยุดให้ลูกจ้างตามกฎหมาย โดยวันหยุดประจำสัปดาห์อย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์ วันหยุดตามประเพณีอย่างน้อย 13 วัน/ปี และหากทำงานครบปี ลูกจ้างจะได้สิทธิ์ลาพักร้อนอย่างน้อย 6 วัน/ปี...

จ่ายโอทีให้ถูกกฎหมาย และไม่เอาเปรียบพนักงาน

ยิ่งทำมาก ยิ่งได้ (เงิน) มาก คำกล่าวนี้ไม่เกินจริงสำหรับชาวออฟฟิศที่ขยันทำโอทีอยู่บ่อยๆ เพราะตามกฎหมายแรงงาน การทำงานนอกเหนือจากเวลาทำงานปกติหรือทำโอที นายจ้างจะต้องจ่ายเงินเพิ่มให้แก่ลูกจ้าง 1.5 หรือ 3 เท่าของจำนวนค่าจ้างต่อชั่วโมง อัตราโอทีที่กฎหมายกำหนดไว้...

Chat GPT ในบทบาทของ HR: ไกด์ไลน์ในการใช้งานให้สนุกและครอบคลุม

ในปัจจุบัน Ai ไม่ใช่เเค่สิ่งที่คนให้ความสนใจตามกระเเส, เเต่มันคือเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนเเปลงหลายธุรกิจรวมถึงวิธีการทำงานของเรา. เราจะชวนคุณมาใช้ ChatGPT เพื่อสร้างประโยชน์ในการทำงานด้าน HR ในชีวิตประจำวัน ให้สนุก และลื่นไหลมากยิ่งขี้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น...

กองทุนประกันสังคม (Social Security Fund)

กองทุนประกันสังคม (Social Security Fund) คือ กองทุนที่รัฐบาลไทยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นสวัสดิการขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้แก่ลูกจ้างที่มีรายได้ในประเทศ ใช้บังคับกับสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ซึ่งนายจ้างและลูกจ้างต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฝ่ายละเท่า ๆ...

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพภาคบังคับ เงินออมระยะยาวสำหรับลูกจ้างวัยเกษียณ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภาคบังคับ หรือ “กองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ” (กบช.) เป็นหนึ่งในนโยบายที่รัฐฯ ผลักดันให้ลูกจ้างในระบบ ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15-60 ปี ออมเงินเพิ่มเติมสำหรับวัยเกษียณ ตั้งเป้าให้ลูกจ้างมีรายได้ไม่น้อยกว่า 50% ของรายได้ก่อนเกษียณ...